ให้ “กฎหมาย”
เป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกคน
รวมทุกกฎหมายที่ควรรู้ เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน กฎหมายใกล้ตัวที่หลายคนอาจไม่เคยสนใจ บางครั้งเรื่องใกล้ตัวนี่แหละที่พอเกิดปัญหาหลายคนมักจะมองข้าม
คำค้นหายอดนิยม : ฟ้องร้อง หมิ่นประมาท แจ้งความ โกง ลิขสิทธิ์
บทความยอดฮิต
สิทธิที่จะไม่พูด.. ไม่ตอบคำถาม.. ไม่ให้การกับตำรวจ..
หลายคนไม่รู้ว่า ถ้าตำรวจแจ้งข้อหาจับเราแล้ว…. เรา […]
กฎหมายใหม่ “ประมวลกฎหมายยาเสพติด”
ผู้เขียน ดร.ธีร์รัฐ บุนนาค “ประมวลกฎหมายยาเสพติด..” กฎห […]
วิกฤตสิทธิแรงงานในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล : ปัญหาความขัดแย้งระหว่าง “ไรเดอร์” กับแพลตฟอร์มที่รัฐเพิกเฉย
โดย ภาสกร ญี่นาง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การ […]
กฎหมายใหม่ : ยาเสพติด 2 ฉบับ ใหม่
ราชกิจจาฯ เผยแพร่ กฎหมายที่เกี่ยวกับคดียาเสพติด จำนวน 2 […]
การสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กและเยาวชนต่อการป้องกันจากการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมและเป็นผู้กระทำผิดในสังคม
บทความโดย กรวรรณ คำกรเกตุ และอุนิษา เลิศโตมรสกุล เด็กแล […]
Q&A : ตัดกิ่งไม้บ้านคนอื่นที่รุกล้ำมาบ้านเรา ได้หรือไม่?
กระแสการปลูกต้นไม้กำลังได้รับความนิยมมากในช่วงกักตัว ปล […]
มาตรการป้องกันอันตรายจากผู้พ้นโทษที่มีพฤติกรรมเป็นภัยต่อสังคม
หลายครั้งเราพบว่า ผู้พ้นโทษกลับมาทำผิด ก่อเหตุซ้ำ สร้าง […]
อินโฟกราฟิก
ผัวเมีย ตีกัน ! พบเห็น “ทำร้ายร่างกาย” ช่วยอะไรไม่ได้จริงหรือ?
สามีหรือภรรยาทำร้ายร่างกาย มีความผิดตามกฎหมาย (ยอมความไ […]
หลอกก่อนเอาทรัพย์ เตรียมรับโทษฉ้อโกง
หลอกเเล้วเอา(ทรัพย์) คือ ฉ้อโกง องค์ประกอบความผิดฐานฉ้อ […]
กระบวนการยุติธรรม กำหนดเวลาทุกขั้นตอน “มีกำหนดเสร็จ – ติดตามความคืบหน้า – ตรวจสอบได้”
กระบวนการยุติธรรม กำหนดเวลาทุกขั้นตอน “มีกำหนดเสร็จ – ติดตามความคืบหน้า – ตรวจสอบได้”
กฎหมายน่ารู้ 89 ทางเลือก “ทำแท้ง” ปลอดภัยทำอย่างไรไม่ผิดกฎหมาย
กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศ เรื่อง การตรวจและรั […]
คำนี้ในกฎหมาย
ลาภมิควรได้ : คำนี้ในกฎหมายแปลว่าอะไร?
#ลาภมิควรได้ : คำนี้ในกฎหมาย คือ การที่บุคคลหนึ่งได้ทรั […]
ป้องกันเกินกว่าเหตุ : คำนี้ในกฎหมายแปลว่าอะไร?
#ป้องกันเกินกว่าเหตุ : คำนี้ในกฎหมายแปลว่าอะไร?…เ […]
ตระเตรียมการ : คำนี้ในกฎหมายแปลว่าอะไร?
ตระเตรียมการ หมายถึง การกระทําการใดๆ อันจะช่วยเหลือ หรื […]
กักกัน : คำนี้ในกฎหมายแปลว่าอะไร?
“กักกัน” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 40 คือ “ การควบคุมผู […]
LAWGET
Q&A : ขาย-ดื่มแอลกอฮอล์ในปั๊มน้ำมัน มีความผิดหรือไม่?
7 สถานที่ห้ามดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
1. วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เว้นแต่เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมทางศาสนา
2. สถานที่บริการสาธารณสุขของรัฐ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคล
3. สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคล หรือสโมสร หรือการจัดเลี้ยงคามประเพณี
4. สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นที่พักส่วนบุคคลหรือสโมสร หรือการจัดเลี้ยงตามประเพณี หรือสถานศึกษาที่สอนการผสมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
5. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงหรือร้านค้าในบริเวณสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
6. สวนสาธารณะของทางราชการที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทั่วไป
7. สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
.
8 สถานที่ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
1. วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา
2. สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยา ตามกฎหมายว่าด้วยยา
3. สถานที่ราชการ ยกเว้นบริเวณที่จัดไว้เป็นร้านค้า หรือสโมสร
4. หอพัก ตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก
5. สถานศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
6. สถานบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง หรือร้านค้าในบริเวณสถานี บริการน้ำมันเชื้อเพลิง
7. สวนสาธารณะของทางราชการ ที่จัดไว้เพื่อการพักผ่อนของประชาชนทั่วไป
8. สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
เช่น ห้ามผู้ใดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บนทางตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก, บริเวณสถานีขนส่ง, ในบริเวณสถานีรถไฟหรือในขบวนรถที่อยู่บนทางรถไฟ, ในบริเวณทางเรือโดยสารสาธารณะหรือบนเรือโดยสาร สาธารณะประจำทาง
.
หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
Q&A : แผ่นป้ายทะเบียนรถยนต์ลอก ตัวหนังสือซีดจาง มองไม่เห็นตัวเลข นำออกไปขับขี่ผิดกฎหมายหรือไม่?
หากแผ่นป้ายทะเบียนรถลอก ตัวหนังสือซีดจาง หรือมองไม่เห็นตัวหนังสือ ห้ามนำหมึกสีดำไปเติมบนตัวอักษรหรือตัวเลขที่สีจาง ไม่งั้น มีความผิด ตาม พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ. 2522 ฐานปิดบังหรือเจตนาดัดแปลงทะเบียนรถยนต์ คือสีดำบนตัวอักษรหรือตัวเลขบนทะเบียนรถ หรือหากเพิกเฉยและไม่เปลี่ยนป้ายทะเบียน จะถือว่ามีความผิดตามกฎหมายข้อหาใช้ป้ายทะเบียนชำรุดตาม พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ. 2522 มาตรา 11 ที่ระบุไว้ว่า “รถที่จดทะเบียนแล้วต้องมีและแสดงแผ่นป้ายและเครื่องหมายครบถ้วนถูกต้องตามที่กําหนดในกฎกระทรวง” และมาตรา 60 มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท เพราะป้ายทะเบียนชำรุดที่มองไม่เห็นเลข จะส่งผลกระทบต่องานการกำกับดูแลความปลอดภัยให้กับประชาชนที่ใช้รถใช้ถนน
Q&A : รถยนต์สีซีด หมอง เปลี่ยนสีใหม่ให้ถูกโฉลก แต่ไม่แจ้งกรมการขนส่งทางบก ผิดหรือไม่?
การเปลี่ยนสีรถยนต์ใหม่ไม่ใช่แค่การขับรถไปร้านซ่อมสี ทำสี เปลี่ยนสี หรือร้าน wrap รถ เมื่อเสร็จแล้วนำรถมาใช้งานตามปกติ แต่ยังมีอีกขั้นตอนที่เจ้าของรถยนต์ต้องดำเนินการคือ “การแจ้งเปลี่ยนสีรถ” โดยแจ้งต่อ “นายทะเบียนที่กรมการขนส่งทางบก”
Q&A : “นินทา” เป็นความผิดทางกฎหมายหรือไม่?
ในยุคที่ทุกคนมีสื่อโซเชียลอยู่ในมือ มีสิทธิ์ที่จะแสดงความคิดเห็นผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ ในพื้นที่ของตัวเองได้อย่างอิสระ
แต่รู้หรือไม่ว่าบางข้อความที่โพสต์ไป บางทีอาจจะพิมพ์แบบขำ ๆ สนุก ๆ แต่ทำให้คนอื่นเดือดร้อนหรือถูกเกลียดชัง อาจจะเข้าข่ายผิดกฎหมาย “หมิ่นประมาท” แบบไม่รู้ตัว…
VDO กฎหมาย
ศาลยุติธรรม ยุค New Normal มุ่งเน้น “การให้บริการ”
การปรับกระบวนทัศน์ใหม่ของศาลยุติธรรมในยุค New Normal ศา […]
“ชุมชนประชาธรรม” Animation Series
โครงการจัดทำสื่อสร้างสรรค์เพื่อสื่อสารแนวคิดหลักนิติธรร […]
ฮาว ทู ดู Ep.2 กลโกง #แชร์ลูกโซ่ ได้เงินคืนหรือไม่?
จับสังเกต…ก่อนตกเป็นเหยื่อ…แชร์ลูกโซ่ โดย นายปิยะศิริ ว […]
นวัตกรรมยุติธรรม “การเฝ้าระวังผู้กระทำผิดกลุ่มเฉพาะ”
JSOC : ศูนย์เฉพาะกิจเฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชน Ep.6 […]