ค้นหา

คุ้มครอง…แรงงานทางทะเล

มาตราการใหม่คุ้มครองแรงงานทางทะเล

เรือ : ยานพาหนะทางน้ำทุกชนิด ที่ใช้ในการเดินทางทะเล เชิงพาณิชย์ แต่ไม่รวม เรือประมง เรือทางราชการ

คนประจำเรือ : คนที่เจ้าของเรือมอบหมายให้อยู่ประจำเรือโดยได้รับค่าจ้าง(ลูกเรือ)

  1. มีสัญาญาจ้างงาน เป็นหนังสือ พร้อมลายมือเจ้าของเรือและลูกเรือ
  2. ทำประกันภัยให้แก่ลูกเรือทุกคน
  3. มีเอกสารที่มีขั้นตอนในการร้องเรียนเกี่ยวกับสภาพการจ้างการทำงานและความเป็นอยู่

4. เจ้าของเรือจ่ายค่าจ้างและค่าล่วงเวลาให้ถูกต้องและตรงเวลา

5. ทำเอกสารเกี่ยวกับการจ้ายค่าจ้างหรือค่าล่วงเวลาให้ลูกเรือทุกครั้ง

6. จัดคนมาทำงานในตำแหน่งที่เหมาะสมกับงานและระยะเวลาการเดินเรือ

7. มีเวลาพักระหว่งทำงาน 1 วัน ไม่น้อยกว่า 1 ชม 

8. ประกาศเวลาทำงานให้ทราบไม่เกิน 8 ชม./วัน 

9. มีชั่วโมงการพักไม่น้อยกว่า 10 ชม. ในรอบวัน

10. วันหยุดประจำปี ไม่น้อยกว่า 30 วัน ต่อปี โดยได้รับค่าจ้าง

11. จัดให้มีที่พักอาศัยและสิ่งอำนวยความสะดวก

12. จัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ได้มาตรฐาน

13. มีอาหารและน้ำดื่มที่มีคุณภาพ

14. จ้างลูกเรือในตำแหน่งคนครัว

15. มีพื้นที่และอุปกรณ์ ในการจัดเตรียมอาหาร

16. ต้องมีอุปกรณ์ปฐมพยาบาลบนเรือ

17. ต้องมีมาตรฐานการคุ้มครองสุขภาพ

18. บริหารจัดการด้านความปลอดภัย และสุขอนามัย

19. มีเครื่องมืออุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในการทำงาน

20. จัดฝึกอบรมด้านความปลอดภัย

5 ข้อต้องห้ามสำหรับเจ้าของเรือ

  1. ห้ามให้คนอายุต่ำกว่า 16 ปีทำงานบนเรือ
  2. ห้ามให้คนอายุต่ำกว่า 18 ปีทำงานในเวลากลางคืน
  3. ห้ามให้คนอายุต่ำกว่า 18 ปีทำงานที่มีอันตรายต่อสุขภาพ
  4. ห้ามให้คนทำงานโดยไม่มีใบรับรองแพทย์
  5. ห้ามหักค่าจ้างและค่าล่วงเวลา

7 สิทธิลูกเรือต้องรู้

  1. สิทธิลาขึ้นฝั่ง
  2. สิทธิลาป่วย
  3. สิทธิรวมตัวเพื่อเจรจาต่อรองสิทธิ
  4. สิทธิลาคลอดและเลี้ยงดูบุตร 90 วัน
  5. สิทธิได้รับค่าทำงานล่วงเวลา 1.25/ชม.
  6. สิทธิเดินทางกลับภูมิลำเนาโดยเจ้าของเรือออกค่าเดินทาง
  7. สิทธิจัดตั้งองค์กรของตนเองเพื่อคุ้มครองประโยชน์

พ.ร.บ. แรงงานทางทะเล 2558